โรคหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องโป่งพอง
หลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องปกติมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2 เซ็นติเมตร ขึ้นอยู่กับขนาดร่างกาย เพศและเชื้อชาติเป็นหลัก โดยหน้าที่ของหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องทำหน้าที่รับเลือดแดงจากหัวใจเพื่อแจกจ่ายไปตามอวัยวะต่างๆในช่องท้อง อุ้งเชิงกรานและขาทั้ง 2ข้าง ทำให้เป็นหลอดเลือดที่มีเลือดไหลผ่านเป็นปริมาณมาก อีกทั้งยังต้องรับเลือดแดงโดยตรงจากหัวใจทำให้ผนังหลอดเลือดดังกล่าวต้องรับการเปลี่ยนแปลงความดันตามจังหวะชีพจรตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ในคนปกติที่ไม่มีหน้าท้องหนามากนักก็อาจสามารถคลำเส้นเลือดดังกล่าวบริเวณระหว่างลิ้นปี่และสะดือเต้นตามจังหวะชีพจรเวลาที่นอนราบได้
โรคหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องโป่งพอง
หลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องปกติมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2 เซ็นติเมตร ขึ้นอยู่กับขนาดร่างกาย เพศและเชื้อชาติเป็นหลัก โดยหน้าที่ของหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องทำหน้าที่รับเลือดแดงจากหัวใจเพื่อแจกจ่ายไปตามอวัยวะต่างๆในช่องท้อง อุ้งเชิงกรานและขาทั้ง 2ข้าง ทำให้เป็นหลอดเลือดที่มีเลือดไหลผ่านเป็นปริมาณมาก อีกทั้งยังต้องรับเลือดแดงโดยตรงจากหัวใจทำให้ผนังหลอดเลือดดังกล่าวต้องรับการเปลี่ยนแปลงความดันตามจังหวะชีพจรตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ในคนปกติที่ไม่มีหน้าท้องหนามากนักก็อาจสามารถคลำเส้นเลือดดังกล่าวบริเวณระหว่างลิ้นปี่และสะดือเต้นตามจังหวะชีพจรเวลาที่นอนราบได้
หัวใจ ทำไมต้องฟื้นฟู
การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ คือ วิธีการใด ๆ ก็ตามที่ผู้ป่วยโรคหัวใจปฏิบัติตามแล้วทำให้หัวใจแข็งแรงขึ้น มีประสิทธิภาพในการทำงานหรือใช้ชีวิตที่ดีขึ้น ประกอบไปด้วย การรับประทานอาหารที่ถูกหลัก การจัดการด้านอารมณ์ ลดความเครียด และ การออกกำลังกายที่เหมาะสม (ตามหลัก 3 อ)
หัวใจ ทำไมต้องฟื้นฟู
การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ คือ วิธีการใด ๆ ก็ตามที่ผู้ป่วยโรคหัวใจปฏิบัติตามแล้วทำให้หัวใจแข็งแรงขึ้น มีประสิทธิภาพในการทำงานหรือใช้ชีวิตที่ดีขึ้น ประกอบไปด้วย การรับประทานอาหารที่ถูกหลัก การจัดการด้านอารมณ์ ลดความเครียด และ การออกกำลังกายที่เหมาะสม (ตามหลัก 3 อ)
เคมีบำบัด (Chemotherapy)
การรักษาด้วยเคมีบำบัด หมายถึง การให้ยาซึ่งมีฤทธิ์ทำลายหรือหยุดยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์เนื้อร้าย บางครั้งอาจมีผลทำให้เซลล์ปกติของร่างกายถูกทำลาลายไปด้วย ส่งผลให้เกิดอาการข้างเดียง เช่น คลื่นเส้ อาเจียน ปากอักเสบ เบื่ออาหาร ภูมิต้านทานต่ำ ท้องเสีย ผมร่วง ซึ่งอาการเหล่านี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของยา สภาวะความแข็งแรงของร่างกาย รวมถึงความพร้อมทางด้านจิตใจของผู้ป่วย
เคมีบำบัด (Chemotherapy)
การรักษาด้วยเคมีบำบัด หมายถึง การให้ยาซึ่งมีฤทธิ์ทำลายหรือหยุดยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์เนื้อร้าย บางครั้งอาจมีผลทำให้เซลล์ปกติของร่างกายถูกทำลาลายไปด้วย ส่งผลให้เกิดอาการข้างเดียง เช่น คลื่นเส้ อาเจียน ปากอักเสบ เบื่ออาหาร ภูมิต้านทานต่ำ ท้องเสีย ผมร่วง ซึ่งอาการเหล่านี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของยา สภาวะความแข็งแรงของร่างกาย รวมถึงความพร้อมทางด้านจิตใจของผู้ป่วย
ดูตัวเองอย่างไร? หลังผ่าตัดมะเร็งเต้านม
มะเร็จเต้านม เกิดจากเซลล์ภายในเต้านมมีการแบ่งตัวอย่างผิดปกติ โดยที่เชลล์มะร็งจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว และโตขึ้นเรื่อย ๆ จนเป็นก้อนใหญ่ให้คลำได้ และหากไม่ได้รับการรักษา เซลล์มะเร็งจะลุกลามไปบริเวณอวัยวะใกล้เคียง คือ ต่อมน้ำหลืองที่รักแร้ และ เข้าสู่หลอดเลือด ทางเดินน้ำเหลือง และกระจายไปสู่อวัยวะอื่น ๆ เช่น กระดูก ปอด ตับ หรืออวัยวะสำคัญอื่น ๆ และเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุด
ดูตัวเองอย่างไร? หลังผ่าตัดมะเร็งเต้านม
มะเร็จเต้านม เกิดจากเซลล์ภายในเต้านมมีการแบ่งตัวอย่างผิดปกติ โดยที่เชลล์มะร็งจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว และโตขึ้นเรื่อย ๆ จนเป็นก้อนใหญ่ให้คลำได้ และหากไม่ได้รับการรักษา เซลล์มะเร็งจะลุกลามไปบริเวณอวัยวะใกล้เคียง คือ ต่อมน้ำหลืองที่รักแร้ และ เข้าสู่หลอดเลือด ทางเดินน้ำเหลือง และกระจายไปสู่อวัยวะอื่น ๆ เช่น กระดูก ปอด ตับ หรืออวัยวะสำคัญอื่น ๆ และเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุด
07 พฤศจิกายน 2567
โรคซึมเศร้าหลังคลอด
โรคซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum Depression) เป็นภาวะทางจิตใจที่เกิดขึ้นกับคุณแม่หลังการคลอดบุตร โดยเฉพาะในช่วง 4-6 สัปดาห์แรกหลังคลอด แต่ในบางกรณีอาจเกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปีหลังจากการคลอด ภาวะนี้มักเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมนและสภาพจิตใจ โดยมีอาการคล้ายคลึงกับโรคซึมเศร้าทั่วไป เช่น รู้สึกเศร้า วิตกกังวล ไม่มีความสุข หรือรู้สึกว่าตนเองเป็นแม่ที่ไม่ดี
07 พฤศจิกายน 2567
โรคซึมเศร้าหลังคลอด
โรคซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum Depression) เป็นภาวะทางจิตใจที่เกิดขึ้นกับคุณแม่หลังการคลอดบุตร โดยเฉพาะในช่วง 4-6 สัปดาห์แรกหลังคลอด แต่ในบางกรณีอาจเกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปีหลังจากการคลอด ภาวะนี้มักเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมนและสภาพจิตใจ โดยมีอาการคล้ายคลึงกับโรคซึมเศร้าทั่วไป เช่น รู้สึกเศร้า วิตกกังวล ไม่มีความสุข หรือรู้สึกว่าตนเองเป็นแม่ที่ไม่ดี
07 พฤศจิกายน 2567
เราไม่ปอด แต่ มะเร็งปอด
มะเร็งปอด เป็นมะเร็งที่พบได้มากในประเทศไทย และเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของทั้งเพศชายและเพศหญิง อย่างไรก็ดีมะเร็งปอดสามารถรักษาให้หายได้หากตรวจพบตั้งแต่ในระยะต้น
07 พฤศจิกายน 2567
เราไม่ปอด แต่ มะเร็งปอด
มะเร็งปอด เป็นมะเร็งที่พบได้มากในประเทศไทย และเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของทั้งเพศชายและเพศหญิง อย่างไรก็ดีมะเร็งปอดสามารถรักษาให้หายได้หากตรวจพบตั้งแต่ในระยะต้น
06 พฤศจิกายน 2567
หัวใจเต้นระริก เต้นผิดจังหวะ เสี่ยงถึงชีวิต
หัวใจเต้นระริกมักจะพบมากขึ้นในผู้สูงอายุ พบมากถึง 60 ล้านคนทั่วโลก โดยพบ 10% ในผู้มีอายุมากกว่า 60 ปี เมื่อเป็นหัวใจเต้นระริก อาจจะมีความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองตามมาถึง 5 เท่า
06 พฤศจิกายน 2567
หัวใจเต้นระริก เต้นผิดจังหวะ เสี่ยงถึงชีวิต
หัวใจเต้นระริกมักจะพบมากขึ้นในผู้สูงอายุ พบมากถึง 60 ล้านคนทั่วโลก โดยพบ 10% ในผู้มีอายุมากกว่า 60 ปี เมื่อเป็นหัวใจเต้นระริก อาจจะมีความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองตามมาถึง 5 เท่า
01 พฤศจิกายน 2567
สุขภาพจิตในผู้สูงอายุ
สุขภาพจิตมีบทบาทสำคัญต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เนื่องจากเป็นตัวกำหนดความสุขและคุณภาพชีวิตโดยรวม การดูแลสุขภาพจิตที่ดีช่วยให้ผู้สูงอายุมีความสามารถในการเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงชีวิตนี้ เช่น การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การสูญเสียคนใกล้ชิด และการเกษียณอายุ ซึ่งหากขาดการดูแลที่เหมาะสม อาจนำไปสู่ภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล หรือสมองเสื่อมได้ การเข้าสู่วัยสูงอายุไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญ
01 พฤศจิกายน 2567
สุขภาพจิตในผู้สูงอายุ
สุขภาพจิตมีบทบาทสำคัญต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เนื่องจากเป็นตัวกำหนดความสุขและคุณภาพชีวิตโดยรวม การดูแลสุขภาพจิตที่ดีช่วยให้ผู้สูงอายุมีความสามารถในการเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงชีวิตนี้ เช่น การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การสูญเสียคนใกล้ชิด และการเกษียณอายุ ซึ่งหากขาดการดูแลที่เหมาะสม อาจนำไปสู่ภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล หรือสมองเสื่อมได้ การเข้าสู่วัยสูงอายุไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญ
การตรวจโรคหัวใจ
โรคหัวใจ หมายถึง โรคต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจ โดยโรคหัวใจสามารถแบ่งย่อยได้เป็นหลายกลุ่มโรค เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคลิ้นหัวใจ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด และโรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ เป็นต้น
การตรวจโรคหัวใจ
โรคหัวใจ หมายถึง โรคต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจ โดยโรคหัวใจสามารถแบ่งย่อยได้เป็นหลายกลุ่มโรค เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคลิ้นหัวใจ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด และโรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ เป็นต้น
เจ็บปวดแบบไหน? ต้องรักษา
ความปวดแบบเฉียบพลัน(Acute Pain) คืออาการเกิดขึ้นยังไม่ถึง 3 เดือน อาทิ ผู้ป่วยที่มีอาการปวดเฉียบพลันทั่วไป เช่น ปวดกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย หรือเป็นส่วน ๆ ผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังจากผ่าตัดที่มีความซับซ้อน เช่น ปวดกระดูก ปวดแผลผ่าตัดเวลาหายใจ
เจ็บปวดแบบไหน? ต้องรักษา
ความปวดแบบเฉียบพลัน(Acute Pain) คืออาการเกิดขึ้นยังไม่ถึง 3 เดือน อาทิ ผู้ป่วยที่มีอาการปวดเฉียบพลันทั่วไป เช่น ปวดกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย หรือเป็นส่วน ๆ ผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังจากผ่าตัดที่มีความซับซ้อน เช่น ปวดกระดูก ปวดแผลผ่าตัดเวลาหายใจ
มะเร็งลำไส้ใหญ่
มะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับต้น ๆ ของหลายประเทศทั่วโลก ด้วยวิถีการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้แนวโน้มอุบัติการณ์การเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นำมาสู่สาเหตุการตายและปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ซึ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกปี สำหรับประเทศไทยมะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็น 1 ใน 5 ของมะเร็งที่พบมากในคนไทย มีอัตราการเกิดโรคสูงขึ้นทุกปี ปัจจุบันมีรายงานผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 13,000 คนต่อปี เป็นเพศชายและหญิงราว 7,000 และ 6,000 คน ตามลำดับ และมีผู้เสียชีวิตประมาณ 5,000 คนต่อปี
มะเร็งลำไส้ใหญ่
มะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับต้น ๆ ของหลายประเทศทั่วโลก ด้วยวิถีการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้แนวโน้มอุบัติการณ์การเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นำมาสู่สาเหตุการตายและปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ซึ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกปี สำหรับประเทศไทยมะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็น 1 ใน 5 ของมะเร็งที่พบมากในคนไทย มีอัตราการเกิดโรคสูงขึ้นทุกปี ปัจจุบันมีรายงานผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 13,000 คนต่อปี เป็นเพศชายและหญิงราว 7,000 และ 6,000 คน ตามลำดับ และมีผู้เสียชีวิตประมาณ 5,000 คนต่อปี
29 สิงหาคม 2567
โรคหัวใจ
โรคหัวใจถือเป็นโรคร้ายที่น่ากลัวมากอีกโรคหนึ่ง เป็นปัญหาสุขภาพที่ร้ายแรง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของคนทั่วโลก รวมถึงคนไทยด้วย นอกจากนี้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกกลุ่มวัย โรคหัวใจเป็นภัยร้ายที่สามารถทำลายชีวิตและความสุขของผู้คนได้อย่างง่ายดาย การตระหนักถึงความรุนแรงของโรค สาเหตุ อาการ และวิธีการป้องกันโรคหัวใจเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้เราสามารถดูแลสุขภาพหัวใจของตนเองและคนที่เรารักได้ดีขึ้น
29 สิงหาคม 2567
โรคหัวใจ
โรคหัวใจถือเป็นโรคร้ายที่น่ากลัวมากอีกโรคหนึ่ง เป็นปัญหาสุขภาพที่ร้ายแรง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของคนทั่วโลก รวมถึงคนไทยด้วย นอกจากนี้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกกลุ่มวัย โรคหัวใจเป็นภัยร้ายที่สามารถทำลายชีวิตและความสุขของผู้คนได้อย่างง่ายดาย การตระหนักถึงความรุนแรงของโรค สาเหตุ อาการ และวิธีการป้องกันโรคหัวใจเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้เราสามารถดูแลสุขภาพหัวใจของตนเองและคนที่เรารักได้ดีขึ้น
โรคหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องโป่งพอง
หลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องปกติมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2 เซ็นติเมตร ขึ้นอยู่กับขนาดร่างกาย เพศและเชื้อชาติเป็นหลัก โดยหน้าที่ของหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องทำหน้าที่รับเลือดแดงจากหัวใจเพื่อแจกจ่ายไปตามอวัยวะต่างๆในช่องท้อง อุ้งเชิงกรานและขาทั้ง 2ข้าง ทำให้เป็นหลอดเลือดที่มีเลือดไหลผ่านเป็นปริมาณมาก อีกทั้งยังต้องรับเลือดแดงโดยตรงจากหัวใจทำให้ผนังหลอดเลือดดังกล่าวต้องรับการเปลี่ยนแปลงความดันตามจังหวะชีพจรตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ในคนปกติที่ไม่มีหน้าท้องหนามากนักก็อาจสามารถคลำเส้นเลือดดังกล่าวบริเวณระหว่างลิ้นปี่และสะดือเต้นตามจังหวะชีพจรเวลาที่นอนราบได้
โรคหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องโป่งพอง
หลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องปกติมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2 เซ็นติเมตร ขึ้นอยู่กับขนาดร่างกาย เพศและเชื้อชาติเป็นหลัก โดยหน้าที่ของหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องทำหน้าที่รับเลือดแดงจากหัวใจเพื่อแจกจ่ายไปตามอวัยวะต่างๆในช่องท้อง อุ้งเชิงกรานและขาทั้ง 2ข้าง ทำให้เป็นหลอดเลือดที่มีเลือดไหลผ่านเป็นปริมาณมาก อีกทั้งยังต้องรับเลือดแดงโดยตรงจากหัวใจทำให้ผนังหลอดเลือดดังกล่าวต้องรับการเปลี่ยนแปลงความดันตามจังหวะชีพจรตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ในคนปกติที่ไม่มีหน้าท้องหนามากนักก็อาจสามารถคลำเส้นเลือดดังกล่าวบริเวณระหว่างลิ้นปี่และสะดือเต้นตามจังหวะชีพจรเวลาที่นอนราบได้
หัวใจ ทำไมต้องฟื้นฟู
การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ คือ วิธีการใด ๆ ก็ตามที่ผู้ป่วยโรคหัวใจปฏิบัติตามแล้วทำให้หัวใจแข็งแรงขึ้น มีประสิทธิภาพในการทำงานหรือใช้ชีวิตที่ดีขึ้น ประกอบไปด้วย การรับประทานอาหารที่ถูกหลัก การจัดการด้านอารมณ์ ลดความเครียด และ การออกกำลังกายที่เหมาะสม (ตามหลัก 3 อ)
หัวใจ ทำไมต้องฟื้นฟู
การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ คือ วิธีการใด ๆ ก็ตามที่ผู้ป่วยโรคหัวใจปฏิบัติตามแล้วทำให้หัวใจแข็งแรงขึ้น มีประสิทธิภาพในการทำงานหรือใช้ชีวิตที่ดีขึ้น ประกอบไปด้วย การรับประทานอาหารที่ถูกหลัก การจัดการด้านอารมณ์ ลดความเครียด และ การออกกำลังกายที่เหมาะสม (ตามหลัก 3 อ)
เคมีบำบัด (Chemotherapy)
การรักษาด้วยเคมีบำบัด หมายถึง การให้ยาซึ่งมีฤทธิ์ทำลายหรือหยุดยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์เนื้อร้าย บางครั้งอาจมีผลทำให้เซลล์ปกติของร่างกายถูกทำลาลายไปด้วย ส่งผลให้เกิดอาการข้างเดียง เช่น คลื่นเส้ อาเจียน ปากอักเสบ เบื่ออาหาร ภูมิต้านทานต่ำ ท้องเสีย ผมร่วง ซึ่งอาการเหล่านี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของยา สภาวะความแข็งแรงของร่างกาย รวมถึงความพร้อมทางด้านจิตใจของผู้ป่วย
เคมีบำบัด (Chemotherapy)
การรักษาด้วยเคมีบำบัด หมายถึง การให้ยาซึ่งมีฤทธิ์ทำลายหรือหยุดยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์เนื้อร้าย บางครั้งอาจมีผลทำให้เซลล์ปกติของร่างกายถูกทำลาลายไปด้วย ส่งผลให้เกิดอาการข้างเดียง เช่น คลื่นเส้ อาเจียน ปากอักเสบ เบื่ออาหาร ภูมิต้านทานต่ำ ท้องเสีย ผมร่วง ซึ่งอาการเหล่านี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของยา สภาวะความแข็งแรงของร่างกาย รวมถึงความพร้อมทางด้านจิตใจของผู้ป่วย
ดูตัวเองอย่างไร? หลังผ่าตัดมะเร็งเต้านม
มะเร็จเต้านม เกิดจากเซลล์ภายในเต้านมมีการแบ่งตัวอย่างผิดปกติ โดยที่เชลล์มะร็งจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว และโตขึ้นเรื่อย ๆ จนเป็นก้อนใหญ่ให้คลำได้ และหากไม่ได้รับการรักษา เซลล์มะเร็งจะลุกลามไปบริเวณอวัยวะใกล้เคียง คือ ต่อมน้ำหลืองที่รักแร้ และ เข้าสู่หลอดเลือด ทางเดินน้ำเหลือง และกระจายไปสู่อวัยวะอื่น ๆ เช่น กระดูก ปอด ตับ หรืออวัยวะสำคัญอื่น ๆ และเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุด
ดูตัวเองอย่างไร? หลังผ่าตัดมะเร็งเต้านม
มะเร็จเต้านม เกิดจากเซลล์ภายในเต้านมมีการแบ่งตัวอย่างผิดปกติ โดยที่เชลล์มะร็งจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว และโตขึ้นเรื่อย ๆ จนเป็นก้อนใหญ่ให้คลำได้ และหากไม่ได้รับการรักษา เซลล์มะเร็งจะลุกลามไปบริเวณอวัยวะใกล้เคียง คือ ต่อมน้ำหลืองที่รักแร้ และ เข้าสู่หลอดเลือด ทางเดินน้ำเหลือง และกระจายไปสู่อวัยวะอื่น ๆ เช่น กระดูก ปอด ตับ หรืออวัยวะสำคัญอื่น ๆ และเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุด
07 พฤศจิกายน 2567
โรคซึมเศร้าหลังคลอด
โรคซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum Depression) เป็นภาวะทางจิตใจที่เกิดขึ้นกับคุณแม่หลังการคลอดบุตร โดยเฉพาะในช่วง 4-6 สัปดาห์แรกหลังคลอด แต่ในบางกรณีอาจเกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปีหลังจากการคลอด ภาวะนี้มักเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมนและสภาพจิตใจ โดยมีอาการคล้ายคลึงกับโรคซึมเศร้าทั่วไป เช่น รู้สึกเศร้า วิตกกังวล ไม่มีความสุข หรือรู้สึกว่าตนเองเป็นแม่ที่ไม่ดี
07 พฤศจิกายน 2567
โรคซึมเศร้าหลังคลอด
โรคซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum Depression) เป็นภาวะทางจิตใจที่เกิดขึ้นกับคุณแม่หลังการคลอดบุตร โดยเฉพาะในช่วง 4-6 สัปดาห์แรกหลังคลอด แต่ในบางกรณีอาจเกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปีหลังจากการคลอด ภาวะนี้มักเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมนและสภาพจิตใจ โดยมีอาการคล้ายคลึงกับโรคซึมเศร้าทั่วไป เช่น รู้สึกเศร้า วิตกกังวล ไม่มีความสุข หรือรู้สึกว่าตนเองเป็นแม่ที่ไม่ดี
07 พฤศจิกายน 2567
เราไม่ปอด แต่ มะเร็งปอด
มะเร็งปอด เป็นมะเร็งที่พบได้มากในประเทศไทย และเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของทั้งเพศชายและเพศหญิง อย่างไรก็ดีมะเร็งปอดสามารถรักษาให้หายได้หากตรวจพบตั้งแต่ในระยะต้น
07 พฤศจิกายน 2567
เราไม่ปอด แต่ มะเร็งปอด
มะเร็งปอด เป็นมะเร็งที่พบได้มากในประเทศไทย และเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของทั้งเพศชายและเพศหญิง อย่างไรก็ดีมะเร็งปอดสามารถรักษาให้หายได้หากตรวจพบตั้งแต่ในระยะต้น
06 พฤศจิกายน 2567
หัวใจเต้นระริก เต้นผิดจังหวะ เสี่ยงถึงชีวิต
หัวใจเต้นระริกมักจะพบมากขึ้นในผู้สูงอายุ พบมากถึง 60 ล้านคนทั่วโลก โดยพบ 10% ในผู้มีอายุมากกว่า 60 ปี เมื่อเป็นหัวใจเต้นระริก อาจจะมีความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองตามมาถึง 5 เท่า
06 พฤศจิกายน 2567
หัวใจเต้นระริก เต้นผิดจังหวะ เสี่ยงถึงชีวิต
หัวใจเต้นระริกมักจะพบมากขึ้นในผู้สูงอายุ พบมากถึง 60 ล้านคนทั่วโลก โดยพบ 10% ในผู้มีอายุมากกว่า 60 ปี เมื่อเป็นหัวใจเต้นระริก อาจจะมีความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองตามมาถึง 5 เท่า
01 พฤศจิกายน 2567
สุขภาพจิตในผู้สูงอายุ
สุขภาพจิตมีบทบาทสำคัญต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เนื่องจากเป็นตัวกำหนดความสุขและคุณภาพชีวิตโดยรวม การดูแลสุขภาพจิตที่ดีช่วยให้ผู้สูงอายุมีความสามารถในการเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงชีวิตนี้ เช่น การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การสูญเสียคนใกล้ชิด และการเกษียณอายุ ซึ่งหากขาดการดูแลที่เหมาะสม อาจนำไปสู่ภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล หรือสมองเสื่อมได้ การเข้าสู่วัยสูงอายุไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญ
01 พฤศจิกายน 2567
สุขภาพจิตในผู้สูงอายุ
สุขภาพจิตมีบทบาทสำคัญต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เนื่องจากเป็นตัวกำหนดความสุขและคุณภาพชีวิตโดยรวม การดูแลสุขภาพจิตที่ดีช่วยให้ผู้สูงอายุมีความสามารถในการเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงชีวิตนี้ เช่น การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การสูญเสียคนใกล้ชิด และการเกษียณอายุ ซึ่งหากขาดการดูแลที่เหมาะสม อาจนำไปสู่ภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล หรือสมองเสื่อมได้ การเข้าสู่วัยสูงอายุไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญ
การตรวจโรคหัวใจ
โรคหัวใจ หมายถึง โรคต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจ โดยโรคหัวใจสามารถแบ่งย่อยได้เป็นหลายกลุ่มโรค เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคลิ้นหัวใจ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด และโรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ เป็นต้น
การตรวจโรคหัวใจ
โรคหัวใจ หมายถึง โรคต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจ โดยโรคหัวใจสามารถแบ่งย่อยได้เป็นหลายกลุ่มโรค เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคลิ้นหัวใจ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด และโรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ เป็นต้น
เจ็บปวดแบบไหน? ต้องรักษา
ความปวดแบบเฉียบพลัน(Acute Pain) คืออาการเกิดขึ้นยังไม่ถึง 3 เดือน อาทิ ผู้ป่วยที่มีอาการปวดเฉียบพลันทั่วไป เช่น ปวดกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย หรือเป็นส่วน ๆ ผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังจากผ่าตัดที่มีความซับซ้อน เช่น ปวดกระดูก ปวดแผลผ่าตัดเวลาหายใจ
เจ็บปวดแบบไหน? ต้องรักษา
ความปวดแบบเฉียบพลัน(Acute Pain) คืออาการเกิดขึ้นยังไม่ถึง 3 เดือน อาทิ ผู้ป่วยที่มีอาการปวดเฉียบพลันทั่วไป เช่น ปวดกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย หรือเป็นส่วน ๆ ผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังจากผ่าตัดที่มีความซับซ้อน เช่น ปวดกระดูก ปวดแผลผ่าตัดเวลาหายใจ
มะเร็งลำไส้ใหญ่
มะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับต้น ๆ ของหลายประเทศทั่วโลก ด้วยวิถีการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้แนวโน้มอุบัติการณ์การเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นำมาสู่สาเหตุการตายและปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ซึ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกปี สำหรับประเทศไทยมะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็น 1 ใน 5 ของมะเร็งที่พบมากในคนไทย มีอัตราการเกิดโรคสูงขึ้นทุกปี ปัจจุบันมีรายงานผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 13,000 คนต่อปี เป็นเพศชายและหญิงราว 7,000 และ 6,000 คน ตามลำดับ และมีผู้เสียชีวิตประมาณ 5,000 คนต่อปี
มะเร็งลำไส้ใหญ่
มะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับต้น ๆ ของหลายประเทศทั่วโลก ด้วยวิถีการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้แนวโน้มอุบัติการณ์การเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นำมาสู่สาเหตุการตายและปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ซึ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกปี สำหรับประเทศไทยมะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็น 1 ใน 5 ของมะเร็งที่พบมากในคนไทย มีอัตราการเกิดโรคสูงขึ้นทุกปี ปัจจุบันมีรายงานผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 13,000 คนต่อปี เป็นเพศชายและหญิงราว 7,000 และ 6,000 คน ตามลำดับ และมีผู้เสียชีวิตประมาณ 5,000 คนต่อปี
29 สิงหาคม 2567
โรคหัวใจ
โรคหัวใจถือเป็นโรคร้ายที่น่ากลัวมากอีกโรคหนึ่ง เป็นปัญหาสุขภาพที่ร้ายแรง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของคนทั่วโลก รวมถึงคนไทยด้วย นอกจากนี้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกกลุ่มวัย โรคหัวใจเป็นภัยร้ายที่สามารถทำลายชีวิตและความสุขของผู้คนได้อย่างง่ายดาย การตระหนักถึงความรุนแรงของโรค สาเหตุ อาการ และวิธีการป้องกันโรคหัวใจเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้เราสามารถดูแลสุขภาพหัวใจของตนเองและคนที่เรารักได้ดีขึ้น
29 สิงหาคม 2567
โรคหัวใจ
โรคหัวใจถือเป็นโรคร้ายที่น่ากลัวมากอีกโรคหนึ่ง เป็นปัญหาสุขภาพที่ร้ายแรง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของคนทั่วโลก รวมถึงคนไทยด้วย นอกจากนี้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกกลุ่มวัย โรคหัวใจเป็นภัยร้ายที่สามารถทำลายชีวิตและความสุขของผู้คนได้อย่างง่ายดาย การตระหนักถึงความรุนแรงของโรค สาเหตุ อาการ และวิธีการป้องกันโรคหัวใจเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้เราสามารถดูแลสุขภาพหัวใจของตนเองและคนที่เรารักได้ดีขึ้น