Header

แผนกสุขภาพจิต

สุขภาพจิต

ให้บริการโดยทีมจิตแพทย์ ในการตรวจวินิจฉัยรักษา ให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยและครอบครัว ผู้มีความเสี่ยงกลุ่มอาการทางจิตเวชและผู้มีปัญหาทางจิตใจ พร้อมให้การบำบัด รักษา ช่วยเหลืออย่างเหมาะสมเพื่อให้สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างปกติ ทำงานหรือเล่าเรียนได้เป็นปกติ รวมทั้งโรงพยาบาลมีนโยบายรักษาความลับของผู้ป่วย จะไม่เปิดเผยประวัติการรักษาหากผู้ป่วยไม่ยินยอม

     หากพบว่าตัวเองกำลังมีปัญหาสุขภาพจิต ควรมาพบแพทย์เพื่อรับคำปรึกษาและรักษาให้ทันท่วงที เพราะการปล่อยไว้อาจจะทำให้ปัญหาที่เป็นอยู่รุนแรงและลุกลามมากขึ้นกว่าเดิม ซึ่งโรงพยาบาลพิษณุเวช มีแผนกจิตเวชที่มีทีมแพทย์ผู้เฉพาะทางที่พร้อมให้คำปรึกษากับทุกปัญหาของผู้ป่วย และมีระบบการนัดหมายที่ช่วยคลายกังวลคนไข้ได้เป็นอย่างดี

สถานที่

อาคาร 4 ชั้น 1

เวลาทำการ

08:00 - 17:00 น.

เบอร์ติดต่อ

055-90-9000 ต่อ 520101, 520102

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

แพทย์แนะนำ

แผนกสุขภาพจิต

แผนกสุขภาพจิต

พญ.ปุณยนุช ผลเงินชัย

จิตเวชศาสตร์

แผนกสุขภาพจิต

บทความที่เกี่ยวข้อง

ไบโพลาร์ (bipolar disorder) โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว

ไบโพลาร์ (Bipolar disorder) หรือ โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว เป็นโรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ จะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมา ระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (major depressive episode) สลับกับช่วงอารมณ์ดี หรือคึกคักมากกว่าปกติ หรือ เมเนีย (mania หรือ hypomania) โดยอาการในแต่ละช่วงอาจเป็นอยู่นานเป็นสัปดาห์ หรือหลาย ๆ เดือนก็ได้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น การทำงาน การเรียน และการดูแลตนเอง ทำให้ไม่สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเป็นปกติ จากการสำรวจในประชากรทั่วไป พบผู้เป็นโรคไบโพลาร์ได้สูงถึง 1.5-5% ของจำนวนประชากร มักพบได้บ่อยในช่วงอายุ 15-19 ปี และรองลงมาคืออายุ 20-24 ปี โดยกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยมีอาการครั้งแรกก่อนอายุ 20 ปี และยังมีโอกาสที่จะกลับมาเป็นซ้ำได้สูงถึง 70-90%

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ไบโพลาร์ (bipolar disorder) โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว

ไบโพลาร์ (Bipolar disorder) หรือ โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว เป็นโรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ จะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมา ระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (major depressive episode) สลับกับช่วงอารมณ์ดี หรือคึกคักมากกว่าปกติ หรือ เมเนีย (mania หรือ hypomania) โดยอาการในแต่ละช่วงอาจเป็นอยู่นานเป็นสัปดาห์ หรือหลาย ๆ เดือนก็ได้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น การทำงาน การเรียน และการดูแลตนเอง ทำให้ไม่สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเป็นปกติ จากการสำรวจในประชากรทั่วไป พบผู้เป็นโรคไบโพลาร์ได้สูงถึง 1.5-5% ของจำนวนประชากร มักพบได้บ่อยในช่วงอายุ 15-19 ปี และรองลงมาคืออายุ 20-24 ปี โดยกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยมีอาการครั้งแรกก่อนอายุ 20 ปี และยังมีโอกาสที่จะกลับมาเป็นซ้ำได้สูงถึง 70-90%

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

13 สิงหาคม 2567

โรคซึมเศร้า

ช่วงหลายปีผ่านมา นับตั้งแต่วิกฤตการแพร่ระบาดโควิด-19 โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่มีผลกระทบต่อจิตใจและร่างกายของผู้ป่วยอย่างรุนแรง โดยสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย ในบทความนี้เราจะสำรวจสาเหตุ อาการ การวินิจฉัย และวิธีการรักษาโรคซึมเศร้าอย่างละเอียดเพื่อเพิ่มความเข้าใจและการรับมือกับโรคนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

13 สิงหาคม 2567

โรคซึมเศร้า

ช่วงหลายปีผ่านมา นับตั้งแต่วิกฤตการแพร่ระบาดโควิด-19 โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่มีผลกระทบต่อจิตใจและร่างกายของผู้ป่วยอย่างรุนแรง โดยสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย ในบทความนี้เราจะสำรวจสาเหตุ อาการ การวินิจฉัย และวิธีการรักษาโรคซึมเศร้าอย่างละเอียดเพื่อเพิ่มความเข้าใจและการรับมือกับโรคนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

30 มิถุนายน 2567

Burnout เหนื่อยล้าเกินไป..สู่ภาวะหมดไฟ

การทำงานหนักเกินไปและการสะสมความเครียดในชีวิตประจำวันอาจนำไปสู่ภาวะที่เรียกว่า ภาวะหมดไฟในการทำงาน (Burnout Syndrome) ซึ่งเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในคนทำงานปัจจุบัน

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

30 มิถุนายน 2567

Burnout เหนื่อยล้าเกินไป..สู่ภาวะหมดไฟ

การทำงานหนักเกินไปและการสะสมความเครียดในชีวิตประจำวันอาจนำไปสู่ภาวะที่เรียกว่า ภาวะหมดไฟในการทำงาน (Burnout Syndrome) ซึ่งเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในคนทำงานปัจจุบัน

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม