Header

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

เลขที่ใบอนุญาต: -

ศูนย์การรักษา

แผนกสุขภาพจิต

ภาษาที่ใช้สื่อสาร

ไทย

ความชำนาญการ

จิตแพทย์

จิตเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 

วันและเวลาออกตรวจ

จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์

08:00 - 16:00

08:00 - 16:00

08:00 - 16:00

08:00 - 16:00

12:00 - 19:00

คุณสามารถตรวจสอบวันและเวลาที่คุณสะดวกได้ก่อนใคร ที่นี่

หมายเหตุ : ตารางแพทย์อาจมีเปลี่ยนแปลง กรุณาสอบถามที่ 055-90-9000

บทความที่เกี่ยวข้อง พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

30 มิถุนายน 2567

Burnout เหนื่อยล้าเกินไป..สู่ภาวะหมดไฟ

การทำงานหนักเกินไปและการสะสมความเครียดในชีวิตประจำวันอาจนำไปสู่ภาวะที่เรียกว่า ภาวะหมดไฟในการทำงาน (Burnout Syndrome) ซึ่งเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในคนทำงานปัจจุบัน

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

30 มิถุนายน 2567

Burnout เหนื่อยล้าเกินไป..สู่ภาวะหมดไฟ

การทำงานหนักเกินไปและการสะสมความเครียดในชีวิตประจำวันอาจนำไปสู่ภาวะที่เรียกว่า ภาวะหมดไฟในการทำงาน (Burnout Syndrome) ซึ่งเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในคนทำงานปัจจุบัน

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ไบโพลาร์ (bipolar disorder) โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว

ไบโพลาร์ (Bipolar disorder) หรือ โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว เป็นโรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ จะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมา ระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (major depressive episode) สลับกับช่วงอารมณ์ดี หรือคึกคักมากกว่าปกติ หรือ เมเนีย (mania หรือ hypomania) โดยอาการในแต่ละช่วงอาจเป็นอยู่นานเป็นสัปดาห์ หรือหลาย ๆ เดือนก็ได้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น การทำงาน การเรียน และการดูแลตนเอง ทำให้ไม่สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเป็นปกติ จากการสำรวจในประชากรทั่วไป พบผู้เป็นโรคไบโพลาร์ได้สูงถึง 1.5-5% ของจำนวนประชากร มักพบได้บ่อยในช่วงอายุ 15-19 ปี และรองลงมาคืออายุ 20-24 ปี โดยกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยมีอาการครั้งแรกก่อนอายุ 20 ปี และยังมีโอกาสที่จะกลับมาเป็นซ้ำได้สูงถึง 70-90%

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ไบโพลาร์ (bipolar disorder) โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว

ไบโพลาร์ (Bipolar disorder) หรือ โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว เป็นโรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ จะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมา ระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (major depressive episode) สลับกับช่วงอารมณ์ดี หรือคึกคักมากกว่าปกติ หรือ เมเนีย (mania หรือ hypomania) โดยอาการในแต่ละช่วงอาจเป็นอยู่นานเป็นสัปดาห์ หรือหลาย ๆ เดือนก็ได้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น การทำงาน การเรียน และการดูแลตนเอง ทำให้ไม่สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเป็นปกติ จากการสำรวจในประชากรทั่วไป พบผู้เป็นโรคไบโพลาร์ได้สูงถึง 1.5-5% ของจำนวนประชากร มักพบได้บ่อยในช่วงอายุ 15-19 ปี และรองลงมาคืออายุ 20-24 ปี โดยกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยมีอาการครั้งแรกก่อนอายุ 20 ปี และยังมีโอกาสที่จะกลับมาเป็นซ้ำได้สูงถึง 70-90%

พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล พญ.ทินารมภ์ ชัยพุทธานุกูล

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

แพทย์ประจำศูนย์

แผนกสุขภาพจิต

แผนกสุขภาพจิต