Header

ศูนย์หัวใจ

Key Medical Facilities

  • Cardiac Catherization Lab
  • Electro Physiologic Study and Radiofrequency Ablation
  • Endocardial Lead Placement
  • ตรวจระบบประสาทอัตโนมัติ โดยการปรับระดับเตียง (Tilt Table Test)Tilt Table Test
  • บันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24-48 ชั่วโมง (24-48 Hours Holter Monitor)
  • ตรวจภาวะเสี่ยงการอุดตันของหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (ABI) Ankle Brachial Index
  • ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงผ่านผนังหน้าอก - Echocardiogram (Echo)
  • ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ - Electrocardiogram (EKG)
  • ตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย - Exercise Stress Test (EST)
  • ตรวจสมรรถภาพหัวใจโดยการใช้ยา (Dobutamine stress echocardiogram)
  • ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงโดยการส่องกล้องผ่านหลอดอาหาร (Esophageal echocardiogram)
  • ตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงเพื่อดูผนังหัวใจห้องบนรั่ว (Echocardiogram with saline bubble test)
  • Carotid Intima Media Thickness
  • Transthoracic Echocardiography (TTE)
  • Transesophageal Echocrdiography (TEE)

Services

  • ผ่าตัดหัวใจ - Open Heart Surgery
  • Coronary Artery Bypass Grafting (CABG)
  • Percutaneous Coronary Intervention (PCI or Angioplasty with Stent)
  • Cardiothoracic and Vascular Surgery
  • การฉีดสีสวนหัวใจ (Coronary Angiography : CAG)
  • การขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูนและขดลวด (Percutaneous Transluminal Coronary Angioplasty หรือ PTCA & Stent)

เบอร์ติดต่อคลินิก 055-90-9000 ต่อ 520101, 520102

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

แพทย์แนะนำ

ศูนย์หัวใจ

นพ.สรวิศ กังธีระวัฒน์

อายุรแพทย์โรคหัวใจ

ศูนย์หัวใจ

นพ.พงษ์พันธ์ จิตต์ธรรม

อายุรแพทย์โรคหัวใจ

ศูนย์หัวใจ

นพ.สุรพันธ์ พนมศักดิ์

อายุรแพทย์โรคหัวใจ

บทความที่เกี่ยวข้อง

เทคโนโลยีการรักษาโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ

โรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน เกิดจาก การที่มีเนื้อเยื่อไขมันผสมกับพังผืดจับตัวกันเป็นแผ่นนูนหรือ ตะกรันตามผนังชั้นในของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ ทำให้รูตรงกลางหรือเส้นหรือเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กลง ผลก็คือกล้ามเนื้อหัวใจส่วนที่เลี้ยงโดยหลอดเลือดนั้นได้รับเลือดไม่พอเกิด อาการแน่น เจ็บหน้าอก เหนื่อย หอบ

เทคโนโลยีการรักษาโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ

โรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน เกิดจาก การที่มีเนื้อเยื่อไขมันผสมกับพังผืดจับตัวกันเป็นแผ่นนูนหรือ ตะกรันตามผนังชั้นในของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ ทำให้รูตรงกลางหรือเส้นหรือเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กลง ผลก็คือกล้ามเนื้อหัวใจส่วนที่เลี้ยงโดยหลอดเลือดนั้นได้รับเลือดไม่พอเกิด อาการแน่น เจ็บหน้าอก เหนื่อย หอบ