Header

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ให้บริการตรวจรักษา แนะนำและฟื้นฟูสมรรถภาพ สำหรับผู้ที่สูญเสียสมรรถภาพร่างกาย จากโรคหรือภาวะต่างๆ เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง กลืนลำบาก กระดูกหัก ปวดอักเสบของกล้ามเนื้อข้อต่อเส้นเอ็น รวมถึงเด็กที่มีพัฒนาการด้านร่างกายและภาษาล่าช้า  โดยทีมแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู นักกายบำบัด และนักกิจกรรมที่เชี่ยวชาญ ร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ พร้อมด้วยเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อการฟื้นฟูโดยเฉพาะ โดยมุ่งมั่นตั้งใจให้ทุกคนสามารถกลับไปใช้ชีวิตได้ปกติหรือใกล้เคียงปกติมากที่สุด และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น   นอกจากนี้ยังให้บริการตรวจประเมิน แนะนำและฝึกโปรแกรมการออกกำลังกาย เพื่อส่งเสริมศักยภาพในการทำงานและเล่นกีฬา รวมถึงฟื้นฟูนักกีฬาที่บาดเจ็บให้สามารถลงเล่นกีฬาได้อีกครั้ง 

การบริการและการรักษา

  • เวชศาสตร์ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคทางระบบประสาทและแขน ขา อ่อนแรง (Neuro Rehabilitation)
  • เวชศาสตร์ฟื้นฟูสมรรถภาพ หัวใจ และปอด (Cardiopulmonary Rehabilitation)
  • เวชศาสตร์ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคทางระบบกระดูก และกล้ามเนื้อ (Orthopedic Rehabilitation)
  • เวชศาสตร์ฟื้นฟูสมถรรภาพผู้สูงอายุและ คลินิกป้องกันการล้ม (Geriatic Rehabilitation and Fall Prevention Clinic)
  • เวชศาสตร์ฟื้นฟูการกลืน (Swallowing Rehabilitation)
  • เวชศาสตร์ฟื้นฟูอาการปวด (Pain Rehabilitation)
  • เวชศาสตร์ฟื้นฟูรักษ์เท้า (Pediatrics and Foot Care)
  • เวชศาสตร์การกีฬา และการฟื้นฟู (SportMedicine and Rehabilitation)
  • เวชศาสตร์ฟื้นฟูพัฒนาการเด็ก (Pediatric Rehabilitation)
  • บริการเปิดท่อน้ำนมสตรีให้นมบุตร (Milk Duct Obstruction Management)
  • บริการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ (Musculoskeletal Ultrasound Diagnosis)

สถานที่

อาคาร 5 ชั้น 4

เวลาทำการ

08:00 - 17:00 น.

เบอร์ติดต่อ

055-90-9000 ต่อ 521301, 521302

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

แพทย์แนะนำ

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

พญ.ณัฒิณี บัญญัติ

แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

นพ.กิตติโชค มาลยาภรณ์

แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

พญ.เนตรยา นิ่มพิทักษ์พงศ์

แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู

บทความที่เกี่ยวข้อง

พัฒนาการเสริมสร้างศักยภาพสมอง 7 ปีแรก ของลูกน้อยอยู่ในมือคุณ

ทำไม? คุณพ่อคุณแม่ต้องให้ความสำคัญกับพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึงอายุ 7 ปี จัดได้ว่าเป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดในชีวิต เพราะนอกจากร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วแล้ว สมองเด็กก็จะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วด้วยเช่นเดียวกัน จากการวิจัยพบว่าในช่วงวัยนี้สมองเด็กจะเจริญเติบโตสูงถึงรัอยละ 80 ของการพัฒนาสมองทั้งหมด หากเด็กๆ มีพัฒนาการที่ปกติตามวัย ก็จะทำให้เกิดทักษะต่างๆ เช่น สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ดี มีความคิริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างได้ดี ซึ่งทักษะเหล่านี้จะเป็นพื้นฐานของเด็กที่ทำให้สามารถพัฒนาทักษะอื่นๆ ที่ซับซ้อนขึ้นได้ ความสามารถในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ เช่น การเลียนแบบ การพูด การเขียน การอ่าน การเล่น การควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ตามช่วงวัย ฯลฯ

พัฒนาการเสริมสร้างศักยภาพสมอง 7 ปีแรก ของลูกน้อยอยู่ในมือคุณ

ทำไม? คุณพ่อคุณแม่ต้องให้ความสำคัญกับพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึงอายุ 7 ปี จัดได้ว่าเป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดในชีวิต เพราะนอกจากร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วแล้ว สมองเด็กก็จะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วด้วยเช่นเดียวกัน จากการวิจัยพบว่าในช่วงวัยนี้สมองเด็กจะเจริญเติบโตสูงถึงรัอยละ 80 ของการพัฒนาสมองทั้งหมด หากเด็กๆ มีพัฒนาการที่ปกติตามวัย ก็จะทำให้เกิดทักษะต่างๆ เช่น สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ดี มีความคิริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างได้ดี ซึ่งทักษะเหล่านี้จะเป็นพื้นฐานของเด็กที่ทำให้สามารถพัฒนาทักษะอื่นๆ ที่ซับซ้อนขึ้นได้ ความสามารถในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ เช่น การเลียนแบบ การพูด การเขียน การอ่าน การเล่น การควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ตามช่วงวัย ฯลฯ

อาหารเพิ่มน้ำนม คุณแม่หลังคลอด

อาหารเป็นสิ่งสำคัญมากสำหรับคุณแม่หลังคลอด ต้องมีพลังานเพียงพอและมีประโยนชน์ครบ 5 หมู่ เพื่อช่วยฟื้นฟูสภาพร่างกายให้แข็งแรง และเตรียมความพร้อมสำหรับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

อาหารเพิ่มน้ำนม คุณแม่หลังคลอด

อาหารเป็นสิ่งสำคัญมากสำหรับคุณแม่หลังคลอด ต้องมีพลังานเพียงพอและมีประโยนชน์ครบ 5 หมู่ เพื่อช่วยฟื้นฟูสภาพร่างกายให้แข็งแรง และเตรียมความพร้อมสำหรับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

26 มิถุนายน 2567

โซเดียมแฝง ภัยเงียบแอบมากับอาหาร

โซเดียมแฝงเป็นปัญหาสุขภาพที่ไม่ควรมองข้าม เนื่องจากการบริโภคโซเดียมมากเกินไปสามารถนำไปสู่ปัญหาสุขภาพรุนแรงได้ การรู้จักแหล่งโซเดียมแฝงในอาหารและวิธีการลดการบริโภคโซเดียมจะช่วยให้เรามีสุขภาพที่ดีและป้องกันปัญหาสุขภาพในอนาคต การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตเล็กน้อย เช่น การอ่านฉลากโภชนาการ การเลือกอาหารสด และการปรุงอาหารที่บ้าน สามารถช่วยลดการบริโภคโซเดียมและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีให้กับร่างกาย

blank โรงพยาบาลพิษณุเวช

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม

26 มิถุนายน 2567

โซเดียมแฝง ภัยเงียบแอบมากับอาหาร

โซเดียมแฝงเป็นปัญหาสุขภาพที่ไม่ควรมองข้าม เนื่องจากการบริโภคโซเดียมมากเกินไปสามารถนำไปสู่ปัญหาสุขภาพรุนแรงได้ การรู้จักแหล่งโซเดียมแฝงในอาหารและวิธีการลดการบริโภคโซเดียมจะช่วยให้เรามีสุขภาพที่ดีและป้องกันปัญหาสุขภาพในอนาคต การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตเล็กน้อย เช่น การอ่านฉลากโภชนาการ การเลือกอาหารสด และการปรุงอาหารที่บ้าน สามารถช่วยลดการบริโภคโซเดียมและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีให้กับร่างกาย

blank โรงพยาบาลพิษณุเวช

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม