ศูนย์กระดูกและข้อ
รักษาโรคทางกระดูกและข้อ กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น เส้นประสาท และบริการคำปรึกษา พร้อมการตรวจวินิจฉัย โดยทีมแพทย์เฉพาะทาง อาทิ ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู วิสัญญีแพทย์ รังสีแพทย์ พยาบาล นักกายภาพบำบัด นักกิจกรรมบำบัด ฯลฯ พร้อมด้วยอุปกรณ์การตรวจที่ทันสมัย ได้แก่
- เครื่องตรวจเอกซเรย์ Digital Radiography แปลงสัญญาณเอกซเรย์เป็นภาพดิจิตอล เพื่อประสิทธิภาพในการจัดเก็บ และส่งข้อมูลได้ดียิ่งขึ้น
- การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasonography)
- การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography)
- การวินิจฉัยด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI: Magnetic Resonance Imaging)
- การตรวจวัดมวลกระดูก ด้วยเอกซเรย์พลังงานต่ำ (Dual Energy X-ray Absorption Scan)
- การดูแลรักษา รวมถึงระบบห้องผ่าตัดที่ได้มาตรฐานสากล JCI (Joint Commission International)
แผนกกระดูกและข้อ
1) แผนกกระดูกและข้อ ให้คำปรึกษา ตรวจรักษาโรคเกี่ยวกับกระดูกและข้อ กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น เส้นประสาท โดยแพทย์เฉพาะทาง เช่น
- ข้อสะโพก ข้อเข่าเสื่อม
- กระดูกสันหลังเสื่อมกดทับเส้นประสาท หมอนรองกระดูกเคลื่อนกดทับเส้นประสาท กระดูกหลังคด
- การบาดเจ็บจากกีฬา
- ปวดข้อไหล่ ข้อศอก ข้อมือ นิ้วล๊อค พังผืดกดทับเส้นประสาท
- ข้อเท้าพลิก เท้าแบน รองช้ำ
- โรคกระดูกในเด็ก
- เนื้องอก ก้อนผิดปกติที่แขน-ขา
2) ตรวจคัดกรอง และรักษาโรคกระดูกพรุน
3) ตรวจรักษาการบาดเจ็บทางระบบกระดูกและข้อ กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น เส้นประสาท ทั้งวิธีผ่าตัด และไม่ผ่าตัด" แปรเป็นปภษาอังกฤษ
แผนกข้อสะโพกและข้อเข่าเสื่อม
1) ให้คำปรึกษา ตรวจรักษาโรคข้อสะโพก ข้อเข่าเสื่อมโดยแพทย์เฉพาะทาง พร้อมด้วยเครื่องมือการตรวจที่ทันสมัย (ในกรณีที่จำเป็น) เพื่อช่วยเลือกวิธีการรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสม
เครื่องตรวจเอกซเรย์ Digital radiography
การส่งตรวจเอกซเรย์แบบ Orthoroengenogram เพื่อประเมินแนวกระดูกขาตั้งแต่ข้อสะโพก ข้อเข่า ถึงข้อเท้า เพื่อการรักษาที่แม่นยำมากขึ้น
2) การรักษาข้อเข่าเสื่อมด้วยวิธีไม่ผ่าตัด
- แนะนำวิธีการปฏิบัติตัว การปรับกิจวัตรประจำวันให้เหมาะสม
- การใช้ยา ร่วมกับการทำกายภาพบำบัด การใส่อุปกรณ์พยุงเข่า
- การฉีดยาเข้าข้อเข่า
3) การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
4) การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม
5) การผ่าตัดแก้ไขข้อสะโพก/ ข้อเข่าเทียมที่สึกหรอ หรือข้อเทียมที่มีภาวะแทรกซ้อน ให้สามารถใช้งานใหม่ได้ (Revision hip/ knee arthroplasty)
แผนกกระดูกคอและกระดูกสันหลัง
1 ให้คำปรึกษา ตรวจรักษาโรคทางกระดูกสันหลัง โดยแพทย์เฉพาะทาง เช่น กระดูกสันหลังเสื่อมกดทับเส้นประสาท หมอนรองกระดูกเคลื่อนกดทับเส้นประสาท กระดูกคด กระดูกสันหลังหัก ปวดหลังชาร้าวลงขา ปวดคอชาร้าวลงแขน
2 เครื่องมือการตรวจเพิ่มเติมที่ทันสมัย
- เครื่องตรวจเอกซเรย์ Digital Radiography
- การส่งตรวจเอกซเรย์แบบ Whole Spine เพื่อประเมินการคด และแนวของกระดูกสันหลัง
- การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography)
- การวินิจฉัยด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI: Magnetic Resonance Imaging)
3 การรักษาโรคกระดูกสันหลังกดทับเส้นประสาท แบบวิธีไม่ผ่าตัด ได้แก่
- แนะนำวิธีการปฏิบัติตัว การปรับกิจวัตรประจำวันให้เหมาะสม
- การใช้ยา ร่วมกับการทำกายภาพบำบัด
- การฉีดยาลดการอักเสบเข้าโพรงกระดูกสันหลัง (Spinal intervention)
- การจี้ไฟฟ้าข้อต่อกระดูกสันหลัง เพื่อลดอาการปวดหลัง (RFA facet joints/ SI joints)
4 การรักษาโรคทางกระดูกสันหลังด้วยวิธีการผ่าตัด
- การผ่าตัดรักษาโรคกระดูกสันหลัง/ กระดูกคอเสื่อมกดทับเส้นประสาท
- การผ่าตัดรักษาโรคกระดูกสันหลังติดเชื้อ/ เนื้องอกกระดูกสันหลัง
- การผ่าตัดแผลเล็ก ส่องกล้อง Microscope, Endoscope
- การผ่าตัดแผลเล็กเชื่อมปล้องกระดูกสันหลัง MIS-TLIF, MIS-OLIF
- การผ่าตัดรักษากระดูกหลังคด (Scoliosis)
แผนกศัลยกรรมการผ่าตัดส่องกล้อง
1) ให้คำปรึกษา ตรวจรักษาโรคของข้อไหล่ ข้อเข่า รวมถึงการบาดเจ็บจากกีฬา โดยแพทย์เฉพาะทางด้านการส่องกล้อง ร่วมกับการตรวจเพิ่มเติม (ในกรณีที่จำเป็น) ด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัย
- เครื่องตรวจเอกซเรย์ Digital Radiography
- การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasonography)
- การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography)
- การวินิจฉัยด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI: Magnetic Resonance Imaging)
2) การรักษาโรค โดยการส่องกล้องข้อไหล่
- เส้นเอ็นไหล่เสื่อม/ ฉีกขาด
- ข้อไหล่ติด
- ข้อไหล่หลวม ข้อหลุดเรื้อรัง
- เส้นเอ็นไหล่อักเสบเรื้อรัง
- หินปูน หรือกระดูกงอกกดทับเส้นเอ็นข้อไหล่
3) การรักษาโรค โดยการส่องกล้องข้อเข่า
- เส้นเอ็นไขว้เข่าบาดเจ็บ
- ซ่อมหมอนรองข้อเข่า
- ซ่อมแซมกระดูกอ่อนผิวข้อ
- กระดูกสะบ้าเคลื่อนหลุด
- รักษาการติดเชื้อในข้อเข่า
แผนกเท้าและข้อเท้า
1) ให้คำปรึกษา ตรวจรักษาโรคของเท้าและข้อเท้า โดยแพทย์เฉพาะทาง เช่น เท้าแบน อุ้งเท้าสูง เส้นเอ็นข้อเท้าอักเสบ ข้อเท้าพลิก เล็บขบ นิ้วเท้าเกยกัน ตาปลา เท้าเบาหวาน รองช้ำ เอ็นร้อยหวายอักเสบ เป็นต้น
2) ร่วมกับการตรวจเพิ่มเติม (ในกรณีที่จำเป็น) ด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัย
3) เครื่องตรวจเอกซเรย์ Digital Radiography
- การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasonography)
- การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography)
- การวินิจฉัยด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI: Magnetic Resonance Imaging)
4) ให้การรักษาโรคทางเท้าและข้อเท้าทั้งวิธีผ่าตัด และไม่ผ่าตัด ได้แก่
- แนะนำวิธีการปฏิบัติตัว การปรับกิจวัตรประจำวันให้เหมาะสม
- การใช้ยา ร่วมกับการทำกายภาพบำบัด
- แนะนำการปรับเสริมรองเท้า หรือการใช้รองเท้าที่ออกแบบเป็นพิเศษ
- การฉีดยาลดการอักเสบเส้นเอ็นข้อเท้า
- การผ่าตัดแก้ไขความผิดรูปของเท้าและนิ้วเท้า
แผนกมือและข้อมือ
1) ให้คำปรึกษา ตรวจรักษาโรคของมือและข้อมือ โดยแพทย์เฉพาะทาง เช่น นิ้วล๊อค พังผืดทับเส้นประสาท นิ้วมือ/ ข้อมือผิดรูป เป็นต้น
2) ร่วมกับการตรวจเพิ่มเติม (ในกรณีที่จำเป็น) ด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัย
- เครื่องตรวจเอกซเรย์ Digital Radiography
- การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasonography)
- การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography)
- การวินิจฉัยด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI: Magnetic Resonance Imaging)
3) ให้การรักษาโรคทางมือและข้อมือทั้งวิธีผ่าตัด และไม่ผ่าตัด ได้แก่
- แนะนำวิธีการปฏิบัติตัว การปรับกิจวัตรประจำวันให้เหมาะสม
- การใช้ยา ร่วมกับการทำกายภาพบำบัด
- แนะนำการใส่อุปกรณ์พยุงข้อมือ ข้อศอกที่เหมาะสม
- การฉีดยาลดการอักเสบ รักษานิ้วล๊อค พังผืดทับเส้นประสาท เส้นเอ็นอักเสบ
- การผ่าตัดรักษาเส้นเอ็น เส้นประสาทบาดเจ็บ
- การผ่าตัดผ่านกล้อง Microscope
แผนกโรคกระดูกพรุน
1) ให้คำปรึกษา ตรวจรักษาโรคกระดูกพรุน โดยแพทย์เฉพาะทาง พร้อมด้วยการตรวจประเมินความแข็งแรงของกระดูกด้วยวิธีมาตรฐาน และทันสมัย
- การสืบค้นข้อมูลจากประวัติ ตรวจร่างกาย และผลเลือดเพื่อประเมินความเสี่ยงของการเป็นโรคกระดูกพรุน
- การตรวจเอกซเรย์ Digital Radiography
- การตรวจวัดมวลกระดูก ด้วยเอกซเรย์พลังงานต่ำ (Dual Energy X-ray Absorption Scan)
2) ให้การรักษาโรคกระดูกพรุน และภาวะแทรกซ้อนจากโรคกระดูกพรุนครบวงจร
- ให้คำปรึกษา แนะนำวิธีการปฏิบัติตัว การปรับอาหาร และการออกกำลังกายเพื่อป้องกันภาวะกระดูกพรุน
- แนะนำการเลือกใช้ยารักษากระดูกพรุนให้เหมาะสม ถูกต้องตามแนวทางการรักษามาตรฐานปัจจุบัน
- แนะนำการออกกำลัง การปฏิบัติตน การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันการหกล้ม กระดูกหัก
- การรักษาภาวะกระดูกหัก จากโรคกระดูกพรุน ทั้งวิธีผ่าตัด และไม่ผ่าตัดการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพกหัก ภายใน 24-48 ชม.
- การรักษากระดูกสันหลังหักยุบ ด้วยยา การใส่อุปกรณ์ดามกระดูกหลัง การฉีดซีเมนต์ หรือการผ่าตัด
- การรักษากระดูกข้อมือ ไหล่ เข่า ข้อเท้าหักจากกระดูกพรุน
- การรักษาโรคกระดูกพรุนทุติยภูมิ โดยแพทย์สหสาขา
- มีแนวทางการติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง การให้คำปรึกษา การส่งต่อข้อมูลให้อย่างครบถ้วน เพื่อให้ได้รับการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
แผนกโรคกระดูกในเด็ก
1) ให้คำปรึกษา ตรวจรักษาโรคกระดูกในเด็ก โดยแพทย์เฉพาะทาง เช่น กระดูกขาโก่ง ขาสั้นยาวไม่เท่ากัน เท้าปุก เท้าแบนในเด็ก ข้อสะโพกเคลื่อนหลุด หัวกระดูกข้อสะโพกยุบ คอเอียง เป็นต้น
2) การตรวจประเมินความผิดปกติของกระดูกเด็ก ด้วยวิธีมาตรฐาน และทันสมัย
- เครื่องตรวจเอกซเรย์ Digital Radiography
- การส่งตรวจเอกซเรย์แบบ Orthoroengenogram เพื่อประเมินแนวกระดูกขาตั้งแต่ข้อสะโพก ข้อเข่า ถึงข้อเท้า ประเมิน-ความสั้นยาวขาได้อย่างแม่นยำ
- การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasonography)
- การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography)
- การวินิจฉัยด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI: Magnetic Resonance Imaging)
2) การรักษาโรคกระดูกในเด็ก ทั้งวิธีการผ่าตัด และไม่ผ่าตัด
- การใส่เฝือกรักษาเท้าปุก เท้าแบน ผิดรูปแต่กำเนิด
- การใส่เฝือกรักษาข้อสะโพกเคลื่อนหลุดในเด็ก
- การใส่เฝือกรักษากระดูกหัก ข้อเคลื่อนในเด็ก
- การผ่าตัดแก้ไขความผิดรูปของกระดูกและข้อต่อในเด็ก
แผนกโรคเนื้องอก บริเวณแขนขา
1) ให้คำปรึกษา ตรวจรักษา โดยแพทย์เฉพาะทาง เกี่ยวกับโรคเนื้องอกของระบบกระดูกและข้อ พร้อมด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัย ครบถ้วน
- เครื่องตรวจเอกซเรย์ Digital radiography
- การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasonography)
- การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computed Tomography)
- การวินิจฉัยด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI: Magnetic Resonance Imaging)
2) ให้การตรวจวินิจฉัย แนะนำแผนการรักษาโรคดังต่อไปนี้
- เนื้องอกของกระดูก ข้อต่อแขน ขา
- เนื้องอกกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น เส้นประสาท
- ก้อนผิดปกติที่แขน ขา
- โรคมะเร็งระยะแพร่กระจายที่กระดูกแขน ขา กระดูกสันหลัง
เบอร์ติดต่อ
055909000
ตารางออกตรวจแพทย์ประจำศูนย์กระดูกและข้อ
อัปเดตล่าสุดเมื่อ: 26 พฤศจิกายน 2567
= ช่วงเช้า = ช่วงบ่าย
รายชื่อแพทย์ | จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|---|
รายชื่อแพทย์ | จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
|
08:00 - 10:00สัปดาห์ที่ 1,3 |
||||||
|
|||||||
17:00 - 20:00 |
|||||||
|
|||||||
13:00 - 17:00 |
|||||||
|
08:00 - 13:00 |
08:00 - 17:00 |
08:00 - 13:00 |
08:00 - 13:00 |
|||
13:00 - 17:00 |
13:00 - 17:00 |
||||||
|
08:00 - 13:00 |
08:00 - 17:00 |
08:00 - 13:00 |
08:00 - 17:00 |
08:00 - 13:00 |
||
13:00 - 17:00 |
|||||||
|
|||||||
13:00 - 15:00 |
|||||||
|
|||||||
18:00 - 19:00 |
|||||||
|
|||||||
17:00 - 20:00 |
20:00 - 08:00 |
17:00 - 08:00 |
|||||
|
08:00 - 17:00 |
08:00 - 13:00 |
08:00 - 17:00 |
08:00 - 13:00 |
|||
13:00 - 17:00 |
13:00 - 17:00 |
20:00 - 07:30 |
|||||
|
|||||||
15:00 - 20:00 |
|||||||
|
|||||||
16:00 - 20:00 |
|||||||
|
|||||||
17:00 - 20:00 |
|||||||
|
08:00 - 16:00 |
||||||
17:00 - 20:00 |
17:00 - 20:00 |
||||||
|
09:00 - 13:00 |
||||||
|
|||||||
13:00 - 15:00 |
|||||||
|
08:00 - 10:00 |
||||||
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
08:00 - 10:00สัปดาห์ที่ 1,3 |
||||||
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
17:00 - 20:00 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
13:00 - 17:00 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
08:00 - 13:00 |
08:00 - 17:00 |
08:00 - 13:00 |
08:00 - 13:00 |
|||
13:00 - 17:00 |
13:00 - 17:00 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
08:00 - 13:00 |
08:00 - 17:00 |
08:00 - 13:00 |
08:00 - 17:00 |
08:00 - 13:00 |
||
13:00 - 17:00 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
13:00 - 15:00 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
18:00 - 19:00 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
17:00 - 20:00 |
20:00 - 08:00 |
17:00 - 08:00 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
08:00 - 17:00 |
08:00 - 13:00 |
08:00 - 17:00 |
08:00 - 13:00 |
|||
13:00 - 17:00 |
13:00 - 17:00 |
20:00 - 07:30 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
15:00 - 20:00 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
16:00 - 20:00 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
17:00 - 20:00 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
08:00 - 16:00 |
||||||
17:00 - 20:00 |
17:00 - 20:00 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
09:00 - 13:00 |
||||||
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
13:00 - 15:00 |
จันทร์ | อังคาร | พุธ | พฤหัสบดี | ศุกร์ | เสาร์ | อาทิตย์ |
---|---|---|---|---|---|---|
08:00 - 10:00 |
||||||