Header

โรงพยาบาลพิษณุเวชผ่านการรับรองมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บระดับ 3 ศูนย์อุบัติเหตุและฉุกเฉิน

14 มกราคม 2567

โรงพยาบาลพิษณุเวชผ่านการรับรองมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บระดับ 3 ศูนย์อุบัติเหตุและฉุกเฉิน

โรงพยาบาลพิษณุเวชผ่านการรับรองมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บระดับ 3 ศูนย์อุบัติเหตุและฉุกเฉิน

โรงพยาบาลพิษณุเวช มุ่งมั่นสู่การพยาบาลระดับชั้นนำที่มีความพร้อมในการดูแลผู้บาดเจ็บแบบครบวงจรภายใต้มาตรฐานการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในระดับสากล โดยมีระบบการคัดแยกผู้ป่วย และระบบการส่งต่อข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ตั้งแต่ ณ จุดเกิดเหตุจนถึงห้องฉุกเฉิน มีระบบและแนวทางการดูแลผู้บาดเจ็บรุนแรง มีความเสี่ยงสูงด้วยความรวดเร็ว ด้วยบุคลากรเฉพาะทางครบทุกสาขาตลอด 24 ชั่วโมง และความพร้อมของเครื่องมือ สถานที่ การใช้พื้นที่ที่เหมาะสมในการดูแลผู้บาดเจ็บ และการดูแลฟื้นฟูผู้บาดเจ็บหลังได้รับการรักษาอาการบาดเจ็บแล้วอย่างครบวงจร มีระบบตรวจสอบ/กำกับคุณภาพในการดูแลผู้บาดเจ็บ และแนวทางการพัฒนาคุณภาพของการดูแลรักษาผู้บาดเจ็บ มีการพัฒนาด้านวิชาการให้กับบุคลากร และมีการพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัยอยู่เสมอ

เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2566 ทางคณะกรรมการจากราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ ได้เดินทางมาตรวจสอบการทำงานของศูนย์อุบัติเหตุและฉุกเฉินอย่างใกล้ชิด เพื่อให้มั่นในว่าการทำงานของศูนย์ฯ เป็นไปตามมาตรฐานศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บสำหรับประเทศไทย เพื่อพัฒนาระบบการดูแลรักษาผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ตามแผนพัฒนาคุณภาพระบบบริการสาธารณสุข (พบส.) ประกอบอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป)

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

ข่าวประชาสัมพันธ์ล่าสุด

30 มกราคม 2568

พิษณุเวช ตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการแพทย์ระดับสากล ผ่านการรับรองมาตรฐาน JCI ต่อเนื่อง 12 ปี

โรงพยาบาลพิษณุเวช ตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการแพทย์ระดับสากล ผ่านการรับรองมาตรฐาน JCI ต่อเนื่อง 12 ปี สะท้อนคุณภาพและความปลอดภัยระดับโลกเพื่อผู้รับบริการในเขตภาคเหนือ โรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือ พริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ ประกาศความสำเร็จครั้งสำคัญ ด้วยการได้รับการรับรองมาตรฐาน Joint Commission International (JCI) จากประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นครั้งที่ 5 และต่อเนื่องเป็นปีที่ 12 ซึ่งเป็นมาตรฐานระดับโลกที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในด้านคุณภาพการรักษาพยาบาลและความปลอดภัยของผู้ป่วย

30 มกราคม 2568

พิษณุเวช ตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการแพทย์ระดับสากล ผ่านการรับรองมาตรฐาน JCI ต่อเนื่อง 12 ปี

โรงพยาบาลพิษณุเวช ตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการแพทย์ระดับสากล ผ่านการรับรองมาตรฐาน JCI ต่อเนื่อง 12 ปี สะท้อนคุณภาพและความปลอดภัยระดับโลกเพื่อผู้รับบริการในเขตภาคเหนือ โรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือ พริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ ประกาศความสำเร็จครั้งสำคัญ ด้วยการได้รับการรับรองมาตรฐาน Joint Commission International (JCI) จากประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นครั้งที่ 5 และต่อเนื่องเป็นปีที่ 12 ซึ่งเป็นมาตรฐานระดับโลกที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในด้านคุณภาพการรักษาพยาบาลและความปลอดภัยของผู้ป่วย

26 มกราคม 2568

พิษณุเวช นำทัพร่วมงานกีฬาโรงพยาบาลเอกชนสัมพันธ์ ครั้งที่ 10

พญ.สิริขวัญ ปัญญาศรีวณิช รองผู้อำนวยการโรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ นำทีมผู้บริหารและบุคลากร ร่วมงาน "กีฬาโรงพยาบาลเอกชนสัมพันธ์" ครั้งที่ 10 ประจำปี 2567 เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ และความสามัคคี ระหว่าง รพ.เอกชนด้วยกัน ได้แก่ รพ.พิษณุเวช, รพ.รวมแพทย์ พิษณุโลก, รพ.กรุงเทพ พิษณุโลก และ รพ.พิษณุโลก ฮอสพิทอล ซึ่งได้มีการแข่งขันกีฬาฟุตซอลชาย, วอลเล่ย์บอลหญิง, กีฬาพื้นบ้าน วันเสาร์ที่ 25 มกราคม 2568 ณ อาคารกีฬาเอนกประสงค์ โรงพยาบาลพุทธชินราช

26 มกราคม 2568

พิษณุเวช นำทัพร่วมงานกีฬาโรงพยาบาลเอกชนสัมพันธ์ ครั้งที่ 10

พญ.สิริขวัญ ปัญญาศรีวณิช รองผู้อำนวยการโรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ นำทีมผู้บริหารและบุคลากร ร่วมงาน "กีฬาโรงพยาบาลเอกชนสัมพันธ์" ครั้งที่ 10 ประจำปี 2567 เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ และความสามัคคี ระหว่าง รพ.เอกชนด้วยกัน ได้แก่ รพ.พิษณุเวช, รพ.รวมแพทย์ พิษณุโลก, รพ.กรุงเทพ พิษณุโลก และ รพ.พิษณุโลก ฮอสพิทอล ซึ่งได้มีการแข่งขันกีฬาฟุตซอลชาย, วอลเล่ย์บอลหญิง, กีฬาพื้นบ้าน วันเสาร์ที่ 25 มกราคม 2568 ณ อาคารกีฬาเอนกประสงค์ โรงพยาบาลพุทธชินราช

24 มกราคม 2568

พิษณุเวชจับมือภาครัฐและเอกชนสู่แนวทางด้านสุขภาพเพื่อประชาชน

พิษณุเวชจับมือภาครัฐและเอกชนสู่แนวทางด้านสุขภาพสู่ประชาชน นายแพทย์วิชญเวทย์ รักษ์กุลชน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ พร้อมด้วย นายแพทย์วีรพล ราชคำ รองผู้อำนวยการโรงพยาบาล คุณอนงค์นาฎ เมฆประยูร ผู้อำนวยการสายปฏิบัติการ ทีมฝ่ายสำนักผู้อำนวยการ ทีมฝ่ายพัฒนาธุรกิจ และฝ่ายวิชาการพยาบาล เข้าพบสวัสดีปีใหม่ผู้บริหารขององค์กรภาครัฐและเอกชนในจังหวัดพิษณุโลก พร้อมพูดคุยหารือถึงแนวทางการพัฒนาบริการด้านสุขภาพและกิจกรรมความร่วมมือต่างๆ ที่จะส่งมอบให้ประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป

24 มกราคม 2568

พิษณุเวชจับมือภาครัฐและเอกชนสู่แนวทางด้านสุขภาพเพื่อประชาชน

พิษณุเวชจับมือภาครัฐและเอกชนสู่แนวทางด้านสุขภาพสู่ประชาชน นายแพทย์วิชญเวทย์ รักษ์กุลชน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ พร้อมด้วย นายแพทย์วีรพล ราชคำ รองผู้อำนวยการโรงพยาบาล คุณอนงค์นาฎ เมฆประยูร ผู้อำนวยการสายปฏิบัติการ ทีมฝ่ายสำนักผู้อำนวยการ ทีมฝ่ายพัฒนาธุรกิจ และฝ่ายวิชาการพยาบาล เข้าพบสวัสดีปีใหม่ผู้บริหารขององค์กรภาครัฐและเอกชนในจังหวัดพิษณุโลก พร้อมพูดคุยหารือถึงแนวทางการพัฒนาบริการด้านสุขภาพและกิจกรรมความร่วมมือต่างๆ ที่จะส่งมอบให้ประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป

24 มกราคม 2568

พิษณุเวชดูแลทุกกิจกรรมกีฬาครบองค์รวมโดยทีม Sport Injury จัดอบรมการใช้เครื่อง AED

ฟิตไม่มีสะดุด พิษณุเวชดูแลทุกกิจกรรมกีฬาครบองค์รวมโดยทีม Sport Injury โรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ โดยศูนย์ฉุกเฉินและอุบัติเหตุ มาตรฐานศูนย์บริบาลระดับ 3 จัดอบรมการใช้เครื่อง AED (Automated External Defibrillator) หรือเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าอัตโนมัติ สำหรับการช่วยชีวิตผู้ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน (Sudden Cardiac Arrest) โดยเฉพาะในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น ในที่ทำงาน โรงเรียน สนามกีฬา หรือพื้นที่สาธารณะ ให้กับชมรมแบดมินตัน เทศบาลนครพิษณุโลก เพื่อเพิ่มทักษะและความมั่นใจในการช่วยชีวิต ลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน ส่งเสริมให้มีผู้ช่วยเหลือที่มีความพร้อมในพื้นที่มากขึ้น

24 มกราคม 2568

พิษณุเวชดูแลทุกกิจกรรมกีฬาครบองค์รวมโดยทีม Sport Injury จัดอบรมการใช้เครื่อง AED

ฟิตไม่มีสะดุด พิษณุเวชดูแลทุกกิจกรรมกีฬาครบองค์รวมโดยทีม Sport Injury โรงพยาบาลพิษณุเวช ในเครือพริ้นซิเพิล เฮลท์แคร์ โดยศูนย์ฉุกเฉินและอุบัติเหตุ มาตรฐานศูนย์บริบาลระดับ 3 จัดอบรมการใช้เครื่อง AED (Automated External Defibrillator) หรือเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าอัตโนมัติ สำหรับการช่วยชีวิตผู้ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน (Sudden Cardiac Arrest) โดยเฉพาะในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น ในที่ทำงาน โรงเรียน สนามกีฬา หรือพื้นที่สาธารณะ ให้กับชมรมแบดมินตัน เทศบาลนครพิษณุโลก เพื่อเพิ่มทักษะและความมั่นใจในการช่วยชีวิต ลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน ส่งเสริมให้มีผู้ช่วยเหลือที่มีความพร้อมในพื้นที่มากขึ้น